วันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 30 November 2015

Diary Note No.11

เนื้อหาที่เรียน         ******* หนูไม่ได้มาเรียนค่ะ
นำการบ้านที่ให้ในสัปดาห์ที่แล้ว มาติดไว้หน้าห้อง

ทำท่าบริหารสมอง
  1. นวดไหปลาร้า
  2. นวดขมับ
  3. นวดหู
  4. มือซ้ายหูขวา มือขวาหูซ้าย
  5. มือซ้ายแตะจมูก มือขวาจับติ่งหู
  6. มือซ้ายจีบ มือขวาแอล
  7. นับ 1-10
  8. ลูบและทุบ
  9. ผสานนิ้วผ่อนคลาย
ความรู้ที่ได้รับ 
  • ได้รับความรู้ของท่าบริหารสมอง ถ้าทำทุกวันแล้วจะฉลาดขั้น สมองจะทำงานได้ดี

Diary Note 16 November 2015

Diary Note No.10

เนื้อหาที่เรียน

ศิลปะสร้างสรรค์

พัฒนาการทางศิลปะ (Lowenfeld and Britain)

ความหมาย

  • เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน
  • การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ

ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์
  • เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
  • ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
  • บำบัดอารมณ์
  • ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
  • แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
  • กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
  • หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
  • ชื่นชมม
  • เตรียมอุปกรณ์
  • ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
  • หลีกเลี่ยงคำถาม "กำลังทำอะไร" หรือ "เดาสิ่งที่เด็กทำ"
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
  • กิจกรรมสี
  • การปั้น
  • การตัดปะ
  • การพับ 
  • การประดิษฐ์
ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการทางศิลปะของเด็กว่ามีกี่ขั้น แต่ละขั้นนั้นเป็นอย่างไร ได้รู้ถึงหลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ และกิจกรรมต่าง ๆ
ประเมินเพือนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีความตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงต่อเวลา
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์มีตัวอย่างอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจตลอดเวลา
  •  มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 
  • มีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาใช้
  • น้ำเสียอ่อนโยน

Diary Note 9 November 2015

Diary Note No.9

เนื้อหาที่เรียน

สอบเขียนกระดาน โดยกลุ่มเรามีเนื้อหาดังนี้

นิทานเรื่อง โรงเรียนของฉัน
ผู้แต่ง  คุณครูและเด็กๆอนุบาล 3

     โรงเรียนของเราน่าอยู่
     ที่โรงเรียนมีคุณครูใจดี
มีเพื่อนๆมากมายที่โรงเรียน
หนูชอบไปวิ่งเล่นในโรงเรียน

พวกเราทุกคนชอบไปโรงเรียน


ขั้นนำ ร้องเพลงโรงเรียนของเราน่าอยู่



แบ่งกลุ่ม 5-6 คน ทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
     กลุ่มเราได้หน่วย ต้นไม้
ขั้นนำ
  • ให้เด็กหาบริเวณพื้นที่เฉพาะตัว
  • ให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดทันที
ขั้นกิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
  • จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ พร้อมปฏิบัติตามคำสั่งดังนี้
         - แบ่งกลุ่ม 2 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นต้นไม้ มีลำต้น และกิ่ง
         - แบ่งกลุ่ม 5 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นต้นไม้ มีลำต้น กิ่ง และ ใบ
         - แบ่งกลุ่ม 8 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นป่าขนาดใหญ่
ขั้นกิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
  • ให้เด็กหาบริเวณพื้นที่เฉพาะตัว นั่งหรือนอนในท่าที่ผ่อนคลายกล้ามเนื้ออย่างอิสระ 
ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การสอนและการเขียนกระดานหน้าห้องเรียนว่าควรทำอย่างไร
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมกับการทำกิจกรรมเป็นอย่างดี เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา 
  • มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 
  • อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมอย่างเต็มที่

Diary Note 2 November 2015

Diary Note No.8

เนื้อหาที่เรียน

ร้องเพลงใหม่ Where is Thumbkin?


Where is Thumbkin?
Where is Thumbkin?
Here I am! Here I am!

*How are you today, sir?
Very well, I thank you
Run away. Run away.

Where is Pointer?
Where is Pointer?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Middleman?
Where is Middleman?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Ringman?
Where is Ringman?
Here I am! Here I am!
(*)

Where is Pinkie?
Where is Pinkie?
Here I am! Here I am!
(*)

แบ่งกลุ่มฝึกเขียนกระดาน

คิดเรื่องที่จะใช้สอบสอนในสัปดาห์หน้า

ความรู้ที่ได้รับ

  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการแต่งนิทาน การเขียนกระดานว่าควรเขียนอย่างไร
  • ได้ร้องเพลงWhere is Thumbkin?
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีส่วนร่วมและมีความตั้งใจทำกิจกรรมกันเป็นอย่างดี 
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา 
  • มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 
  • อาจารย์เปิดโอกาสให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่าง ๆ 

Diary Note 26 October 2015

Diary Note No.7

เนื้อหาที่เรียน    ******ไม่ได้มารียนค่ะ

อาจารย์แจกสีให้แก่นักศึกษาคนล่ะ 1 กล่อง

กิจกรรมประดิษฐ์ไม้กายสิทธิ์



รวมไม้กายสิทธิ์ของเพื่อน ๆ ทั้งห้อง

 

ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในเรื่องของการทำไม้กายสิทธิ์
 

Diary Note 19 October 2015

Diary Note No.6

เนื้อหาที่เรียน

กิจกรรมฟังเสียงเครื่องดนตรี

  1. ไวโอลิน
  2. แซ็กโซโฟน
  3. เม้าท์ออกแกน
  4. ฉาบ
  5. ทอมโบน
  6. กีต้าร์
  7. ..
  8. เปียโน
  9. แตร
  10. ฟรุ๊ต
  11. นิ้งหน่อง
  12. ทรัมเป็ต
  13. กลองชุด
  14. เชลโล
  15. ปี่สก็อต
กิจกรรมฟังเสียงสัตว์
  1. สุนัข
  2. แมว
  3. หมู
  4. วัว
  5. ไก่ตัวผู้
  6. ม้า
  7. ไก่ตัวเมีย
  8. ลา
  9. แพะ
  10. เป็ด
  11. นก
กิจกรรมส่งสาร

แรดอย่างสงบ ตบเมื่อจำเป็น ตอแหลอย่างเยือกเย็น เพราะเราเป็นไฮโซ

กิจกรรมส่งสารโดยแบ่งกลุ่ม 5 คน

กิจกรรมแต่งคำคล้องจอง

อะไรเอ๋ยรูปร่างเล็ก  ไม่ถูกสเป็คกับแมวตัวใหญ่
ส่งเสียงจี๊ดๆมีอยู่ทั่วไป  สีดำนั้นไซร้ลองทายดู

 เฉลย หนู

อะไรเอ๋ยมีหลายขนาด  เจ้าหนูชอบพลาดโดนจับกิน
เมื่อเป็นปลาทูมันทำหน้าฟฟิน  เหมียวเหมียวจะกินลองทายดู

เฉลย แมว
 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้ในการแต่งคำคล้องจอง เทคนิคในการแต่งคำคล้องจอง
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีความตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกรรม เข้าห้องเรียนตรงเวลา มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมทุกกิจกรรม
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 
  • อาตารย์ให้เด็กได้มีส่วนในการทำกิจกรรมต่าง ๆ เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นและแสดงความคิดสร้างสรรค์อย่างเต็มที่ 
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา 
  • แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะสมแก่การเป็นตัวอย่างแก่นักศึกษา                                            

Diary Note 5 October 2015

Diary Note No.5

เนื้อหาที่เรียน

กิจกรรมนักมายากลระดับโลก

  1. หลังเวทีกำลังขึ้นแสดงโชว์มีความรู้สึกอย่างไร
  2. ออกไปโชวแล้วแต่ขณะเล่นเรียนผู้ชมขึ้นมาเล่นจะเลือกใคร
  3. โดยเพื่อนจับผิดได้จะกระซิบว่า
  4. หลังจากแสดงเสร็จนึกย้องกลับไปแล้วรู้สึกอย่างไร
เฉลยกิจกรรมนักมายากลระดับโลก
  1. รู้สึกอย่างไรเมื่อโกหกคนอื่น
  2. คนที่โดนหลอกง่าย
  3. โกหกแล้วโดนจับได้
  4. ความรู้สึกที่ได้โกหก
การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

การเล่น
  • กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
  • ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย
  • ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น  
Piaget 
     กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
  1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
  2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
  • ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ                                                                                                                                                      
 ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
  • การเล่นกลางแจ้ง
  • การเล่นในร่ม
 การเล่นในร่ม   
  • การเล่นตามมุมประสบการณ์
  • การเล่นสรรค์สร้าง      
 การเล่นสรรค์สร้าง
  •  การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
  • ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
  • เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
  1.  สภาวะการเรียนรู้
  2.  พัฒนาการของการรู้คิด
  3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
  • เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
  • การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
  • การจำแนกอย่างมีเหตุผล
 หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
  • ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
  • ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
  • มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม
รูปแบบการสอนแบบ STEM
  • S = Science
  • T = Tecnology
  • E = Engineering
  • M = Mathematics 
 กิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน
อุปกรณ์
  1. ดินน้ำมัน
  2. ไม้จิ้มฟัน
 ความสูงที่ทำได้ 
  • ครั้งที่ 1 29 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 2 47 เซนติเมตร
  • ครั้งที่ 3 48 เซนติเมตร
 กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ
อุปกรณ์ 
  1. กระดาษ 1 แผ่น
  2. ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้
 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ว่ามีการเล่นแบบใดบ้าง เพียเจต์ได้แบ่งพัฒนาการเล่นเล่นได้เป็นกี่แบบ ได้รู้ถึงองค์ประกอบ กระบวนการจัดประสบการเพื่อการเรียนรู้ และหลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง
 ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • โดยรวมเพื่อนมีความตั้งใจทำกิจกรรมเป็นอย่างดี แต่งกายเรียบร้อย สนุกกับการทำกิจกรรม
 ประเมินอาจารย์ 
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย
  • อาจารย์มีน้ำเสียที่อ่อนโยน
  • อาจารย์สอนเข้าใจง่าย

Diary Note 21 September 2015

Diary Note No.4


ทบทวนเพลง London Bridge is falling down


*London Bridge is falling down,
falling down,falling down.
London Bridge is falling down.My fair lady.

Build it up with sticks & stones,
sticks & stones,sticks & stones.
Build it up with sticks & stones,My fair lady.

Sticks & stones will all fall down,
all fall down,all fall down.
Sticks & stones will all fall down.My fair lady.

Build it up with wood & clay,
wood & clay,wood & clay.
Build it up with wood & clay,My fair lady.

Wood & clay will wash away,
wash away,wash away.
Wood and clay will wash away,My fair lady.

 Build it up with iron and steel,
iron and steel,iron and steel.
Build it up with iron and steel,My fair lady.

Iron and steel will bend and bow,
bend and bow,bend and bow.
Iron and steel will bend and bow.
My fair Lady. (*)

ร้องเพลงใหม่เพลง Mary Had A Little Lamb

Mary had a little lamb,
Little lamb, little lamb,
Mary had a little lamb.
It's fleece was white as snow.

Everywhere that Mary went,
Marry went, Marry went,
Everywhere that Mary went
The lamb was sure to go.

He followed her to school one day
School one day, school one day
He followed her to school one day
Which was against the rules.

He made the children laugh and play,
Laugh and play, laugh and  play,
He made the children laugh and play
to see the lamb at school.

And so the teacher turned it out,
Turned it out turned it out,
And so the teacher turned it out,
But still it lingered near.

"Does the lamb love Mary so?"
Love Mary so? Love Mary so ?
"Does the lamb love Mary so?"
The eager children cry.

"Mary loves the lamb. you know."
the lamb, you know, the lamb, you know
"Mary loves the lamb, you know.
The teacher did reply.

Mary had a little lamb,
Little lamb, little lamb,
Mary had a little lamb,
Its fleece was white as snow.

เทคนิคการสอนเด็ก
     ขั้นนำ  
  1. ร้องเพลง และนำเข้าสู่บทเรียน
     ขั้นเตรียม
  1. เตรียมอุปกรณ์
  2. ถามเด็กว่าเด็ก ๆ เห็นไหมว่าคุณครูมีอะไรมาบ้าง แล้ววางให้เด็กดูทีละอย่าง
ทำกิจกรรมดีไซเนอร์ระดับโลก โดยการใช้กระดาษหนังสือพิมพ์
ภาพกิจกรรม


เสร็จแล้วกับผลงานชุดที่มีชื่อว่า "นกยูงรำแพน" พร้อมเดินแฟชั่นโชว์


ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รับความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการจากการออกแบบชุด ในการทำกิจกรรม ดีไซเนอร์ระดับโลก 
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนมีความตั้งใจเรียน และมีความตั้งใจทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้เต็มที่ แต่ช่วงแรก ๆ เพื่อน ๆ ไม่ค่อยมีสมาธิคุณครูเลยต้องทำกิจกรรมเรียกสมาธิ
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย เป็นต้วอย่างที่ดีให้แก่ศิษย์
  • อาจารย์มีกิจกรรมและเพลงที่หลากหลายในการสอน
Diary Note No.3

เนื้อหาที่เรียน

ทำกิจกรรมก่อนการเรียนการสอน กิจกรรมสตอเบอรี่ โดยใช้คำถามต่อไปนี้
  1. เมื่อเห็นสตอเบอรี่อยู่แต่มีรั่วล้อมรอบ นักศึกษาคิดว่าจะเป็นรั้วแบบไหนและสูงเท่าไหร่
  2. ถ้าได้เข้าไปจะกินสตอเบอรี่กี่ลูก
  3. ถ้าเจ้าของเห็นเราขณะกินสตอเบอรี่ เราจะแก้ตัวอย่างไร
  4. รู้สึกอย่างไรเมื่อเดินออกมาจากไร่สตอเบอรี่
ทบทวนเพลง Incy Wincy Spider และเพลง I love you You love me

ร้องเพลงใหม่ เพลง London Bridge is falling down

*London Bridge is falling down,
falling down,falling down.
London Bridge is falling down.My fair lady.

Build it up with sticks & stones,
sticks & stones,sticks & stones.
Build it up with sticks & stones,My fair lady.

Sticks & stones will all fall down,
all fall down,all fall down.
Sticks & stones will all fall down.My fair lady.

Build it up with wood & clay,
wood & clay,wood & clay.
Build it up with wood & clay,My fair lady.

Wood & clay will wash away,
wash away,wash away.
Wood and clay will wash away,My fair lady.

 Build it up with iron and steel,
iron and steel,iron and steel.
Build it up with iron and steel,My fair lady.

Iron and steel will bend and bow,
bend and bow,bend and bow.
Iron and steel will bend and bow.
My fair Lady. (*)


แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
     
     แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford
               
           อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
    
 มิติที่ 1 : เนื้อหา (ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
  • ภาพ (สิ่งที่เห็น)
  • สัญลักษณ์ (สิ่งที่แทนความหมาย)
  • ภาษา (การสื่อสาร)
  • พฤติกรรม (สิ่งที่แสดงออกมา)
มิติที่ 2 : วิธีคิด (กระบวนการทำงานของสมอง)
  • การรู้และเข้าใจ
  • การจำ
  • การคิดแบบอเนกนัย (คิดคำตอบให้เยอะ ในโจทย์เดียว)
  • การคิดแบบเอนกนัย (หาคำตอบที่ดีที่สุด)
  • การประเมินค่า
มิติที่ 3 : ผลของการคิด (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
  • หน่วย (ของเป็นชิ้นๆ หรือ หน่วยการเรียน เช่น หน่วยสัตว์ หน่วยผลไม้)
  • ระบบ เช่น 1 3 5  7 9 หรือ 2 4 6 8 10
  • จำพวก (สัตว์บก,สัตว์น้ำ)
  • การแปลงรูป เช่น จากรูปสี่เหลี่ยม สามารถเปลี่ยนไปเป็นรูปไรได้บ้าง
  • ความสัมพันธ์ (สิ่งที่สัมพันธ์กัน)
  • การประยุกต์ (มองสิ่งที่เห็นอยู่ ให้เปลี่ยนใจ)
     ทฤษฎี Constructivism (เรียนรู้ด้วยตนเอง)
  • เด็กเรียนรู้เอง
  • เด็กคิดเอง
  • ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
  • สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
     ทฤษฎีของ Torrance (การแก้ไขปัญหา)
  • ขั้นที่ 1 การพบความจริง
  • ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญญา
  • ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
  • ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
  • ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยาการที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
  • เด็กรู้สึกปลอดภัย (สบายใจ,อบอุ่น)
  • ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
  • ให้ความสนใจเด็ก
  • ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
  • ไม่มีการแข่งขัน
ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
  • มีไหวพริบ
  • มีอารมณ์ขัน
  • กล้าแสดงออก ,มั่นใจในตัวเอง
  • มีสมาธิ
  • อยากรู้อยากเห็น
  • ซาบซึ้นงกับสุนทรียภาพ
  • ช่างสังเกต
  • ชอบสร้าางแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่
  • มีความวิจิรตพิสดาร
  • ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

     Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
  • ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง 
    (Incompleteness,Openness) ไม่ปิด ไม่ตีกรอบ
  • ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
     (Producing Something and Using it )
  • ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก 
    (Using Pupil Question)
คำถามที่ส่งเสริมความคิดคล่องแคล่ว
  • คิดให้ได้มากที่สุด
คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
  • คิดหรือทำสิ่งที่ไม่คเยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
  • ได้คำตอบที่หลากหลาย (คำถามปลายเปิด)
คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ
  • คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่าง ๆ
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance
  • ส่งเสริมให้เด็กถาม
  • เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
  • ยอมรับคำตอบของเด็ก
  • ชี้แนะให้เด็กกหาคำตอบด้วยตนเอง
  • แสดงให้เด็กเห็นความคิดของเด็กมีคุณค่า
  • เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรุ้อยู่เสมอ
  • ค่อยเป็นค่อยไป
  • ยกย่องชมเชย
  • ไม่มีการวัดผล
การตั้งคำถาม 5 W   1 H
  1. who ใคร
  2. what  อะไร
  3. where ที่ไหน
  4. when เมื่อไหร่
  5. why ทำไม
  6. how อย่างไร
ทำกิจกรรมวาดภาพจากสีที่ได้จากธรรมชาติ
  • ใบไม้
  • ดิน
  • ดอกไม้


หาดอกไม้ ใบไม้ และดิน เพื่อใช้เป็นสีในการวาดภาพ
เริ่มลงมือวาดภาพที่ใช้สีโดยจากธรรมชาติที่เราหามา
เสร็จแล้วผลงานการวาดภาพที่ใช้สีจากธรรมชาติ

นำผลงานที่ได้ออกมานำเสนอ

สีที่ได้จากธรรมชาติที่เรานำมาใช้มีดังนี้คือ
  1. สีน้ำตาล จาก ดิน
  2. สีเขียว จาก ใบไม้
  3. สีม่วง จาก ดอกเข็ม
ความรู้ที่ได้รับ
  • การเรียนในวันนี้ทำให้ดิฉันได้รับความรู้อะไรหลาย ๆ อย่างไม่ว่าจะเป็นแนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์,แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford,ทฤษฎี Consturctivism,ทฤษฎีของ Torrance เป็นต้น อีกทั้งยังได้ทักษะการตั้งคำถามในการสอนเด็ก โดยการใช้ 5 W 1 H
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนเข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจเรียน 
ประเมินอาจารย์
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย เป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษา
  • มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 

วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 24 August 2015


Diary Note No.2

เนื้อหาที่เรียน

ทำกิจกรรมรถไฟเหาะแห่งชีวิต โดยมีการใช้คำถามดังต่อไปนี้
  1. ถ้าคุณต่อแถวขึ้นรถไฟที่คุณอยากเล่นมากๆ คุณคิดว่าจะต่อแถวกี่นาทีกว่าจะได้ขึ้น
  2. คุณมีความรู้สึกอย่างไรเมื่อมีลมมาปะทะหน้าเมื่อขึ้นรถไฟ
  3. คุณรู้สึกอย่างไรเมื่อมีน้ำมากระเซ็นถูกตัวระหว่างอยู่บนรถไฟ
  4. แล้วถ้าคุณไปเล่นม้าหมุน ม้าหมุนตัวนั้นกลับพังลงไม่สามารถเล่นได้ คุณจะพูดว่าอย่างไร
ทำกิจกรรมเส้นกับจุดตามบทเพลงแล้ววาดภาพตามจินตนาการ
  •     อาจารย์ให้จับคู่ 2 คน ให้คนแลกเป็นคนลากเส้น คนที่สองเป็นคนวาดจุด
  •     ลากเส้นและวาดจุดตามเสียงเพลงที่ได้ยิน ตามจินตนาการของเรา
  •      จากนั้นให้ดูรูปที่เราทำ ว่าสามารถมองเป็นรูปอะไรได้บ้าง แล้วออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน





ร้องเพลง Incy Wincy spider และ I love you You love me

  • เพลง Incy Wincy spider
Incy Wincy spider
climbed up the water spout
Down came the rain
and washed poor Incy out.
Out came the sunshine
and dried up all the rain
And Incy Wincy spider
climbed up the spout.
  • เพลง I love you You love me
I love you. You love me.
We're a happy family'With a great big hug
and a kiss from me to you
Won't you say you love me too.
I love you. You love me.
We're best friends
like friends should be.
With a great big hug
and a kiss from me to you.
Won't you say you love me too.

ความรู้ที่ได้รับ

  •   ได้รับความรู้เกี่ยวกับการสอนเด็กในเรื่องของความคิดสร้างสรรค์ ครูไม่ควรปิดกั้นความคิดของเด็ก 
  •   เพื่อน ๆ มีความตั้งใจเรียน และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมดีมาก
  •   มาเรียนตรงต่อเวลา มีความพร้อมในการเรียน

ประเมินอาจารย์

  •   อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
  •   อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย
  •   อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษาใช้จินตานาการอย่างเต็มที่   

Diary Note 17 August 2015


Diary Note No.1

เนื้อหาที่เรียน

อาจารย์ แจก Course Syllabus
ทบทวนเพลง 
เพลง ผีเสื้อ
ผีเสื้อเอย ผีเสื้อแสนงาม
เจ้าโบยบินไปตามดอกไม้
ดูดน้ำหวานสำราญใจ
 สุขกะไรหนอผีเสื้อแสนงาม
เพลงแปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรงฟัน ฟันหนูสวยสะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลงทุกซี่ สะอาดดีเพราะหนูแปรงฟัน
 เพลงบ้านของฉัน
บ้านของฉันอยู่ด้วยกันมากหลาย
 พ่อ แม่ ปู่ ย่า ลุง ป้า ตา ยาย
มีทั้ง น้า อา พี่ และ น้องมากมาย
 ทุกคนสุขสบายเราเป็นพี่น้องกัน
เพลงลูกสัตว์
ลูกเป็ดมันร้อง ก๊าบ ก๊าบ
ลูกไก่มันร้อง เจี๊ยบ เจี๊ยบ
ลูกหมาเห่า บ๊อก บ๊อก บ๊อก
ลูกแมวก็ร้อง เมียว เมียว
ลูกหมูมันร้อง อู๊ด อู๊ด
ลูกกบร้อง อ๊อบ อ๊อบ
ลูกนกร้อง จิ๊บ จิ๊บ จิ๊บ
ลูกวัวก็ร้อง มอ มอ
เพลงนม

นมเป็นอาหารดีมีคุณค่าต่อร่างกาย
ดื่มแล้วชื่นใจ ร่างกายแข็งแรง
ยังมีนมถั่วเหลือง ดื่มได้ดีและไม่แพง
ดื่มแล้วชื่อใจ ร่างกายแข็งแรง
ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้ทบทวนเนื้อเพลงเก่า ๆ ที่ใช้ในการร้องบ่อยๆในเด็กปฐมวัย 
  • ได้ทราบถึงรายละเอียดวิชา ว่าต้องเรียนอะไรบ้าง หน่วยกิจ การให้คะแนน เป็นต้น
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนๆ มีความตั้งในเรียนดีมาก ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม แต่มีเพื่อนบางส่วนที่เข้าห้องเรียนช้า  
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย 
  • อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย มีการถามทีละคน มีการทบทวนความรู้เดิม